ปรัชญาหลังนวยุค

อ.ดร.รวิช ตาแก้ว กระบวนทรรศน์หลังนวยุค (Postmodern Paradigm) สงครามโลกครั้งที่ 1 ทำลายมนุษย์ไปประมาณ 10 – 20 ล้านคน สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำลายไปอีกประมาณ 60 – 100 ล้านคน จึงมีการตั้งปัญหาถามขึ้นมาว่าวิทยาศาสตร์จะสร้างสวรรค์หรือทำลายโลกกันแน่ คำตอบที่ได้คือ จะทำลายมนุษย์หมดโลกแน่ หากยึดกระบวนทรรศน์แบบนวยุค (Modern Paradigm) ดังนั้น เมื่อไม่ต้องการกระบวนทรรศน์แบบนวยุคก็ต้องสร้างกระบวนทรรศน์ใหม่  แนวคิดกระบวนทรรศน์ใหม่แบบหลังนวยุคถูกปูทางโดยแนวคิดทางปรัชญาของคานท์ โดยชี้ให้เห็นแนวทางความไม่แน่นอนของความรู้ว่ามนุษย์ไม่สามารถเข้าถึงความรู้ที่แท้จริงได้ วิชาการต่าง…

ปรัชญาจีน-2

อ.ดร.สิริกร อมฤตวาริน ... ปรัชญาจีนเกิดขึ้นโดยอาศัยความเชื่อในศาสนาดั้งเดิมเป็นรากฐาน ให้ความสำคัญในเรื่องมนุษย์ว่าจะทำอย่างไรคนจึงจะเป็นคนดี มีความสุข ทำอย่างไรสังคม ประเทศ และโลกจะมีความสงบสุข  ความรู้ตามแนวคิดปรัชญาจีนเน้นเฉพาะความรู้ที่สามารถทำให้คนเป็นคนดีมีคุณธรรม เน้นคุณวิทยา ปรัชญาจีนจึงเป็นไปในแนวทางจริยศาสตร์และสุนทรียศาสตร์เป็นสำคัญ ยุคที่ 2-4 เกิดขึ้นหลังระบบจักรพรรดิ์ ได้แก่ Continue reading "ปรัชญาจีน-2"

ปรัชญาจีน-1

อ.ดร.สิริกร อมฤตวาริน ... ปรัชญาจีนเกิดขึ้นโดยอาศัยความเชื่อในศาสนาดั้งเดิมเป็นรากฐาน ให้ความสำคัญในเรื่องมนุษย์ว่าจะทำอย่างไรคนจึงจะเป็นคนดี มีความสุข ทำอย่างไรสังคม ประเทศ และโลกจะมีความสงบสุข  ความรู้ตามแนวคิดปรัชญาจีนเน้นเฉพาะความรู้ที่สามารถทำให้คนเป็นคนดีมีคุณธรรม เน้นคุณวิทยา ปรัชญาจีนจึงเป็นไปในแนวทางจริยศาสตร์และสุนทรียศาสตร์เป็นสำคัญContinue reading "ปรัชญาจีน-1"

ลัทธิรื้อสร้างใหม่

ลัทธิรื้อสร้างใหม่กับปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง อ.ดร.เอนก สุวรรณบัณฑิต: ..... ลัทธิรื้อสร้างใหม่ (Reconstruction) เริ่มรู้กันในราวปี 1942 ต่อมา Richard D. Mosier จากหนังสืง The Philosophy of Reconstructionism, Educational Theory 1 ในปี 1951  โดยเสนอการรื้อสร้างใหม่ในด้านตรรกะ ศีลธรรม การศึกษา และปรัชญา ในยุคสมัยใหม่ ทั้งนี้ Theodore Branmeld…

Energeticism

ลัทธิพลังงานนิยม อ.ดร.เอนก สุวรรณบัณฑิต ............... ลัทธิพลังงานนิยม [Energeticism] ถือเป็นลัทธิความคิดที่แสดงความเป็นปรัชญานวยุค (modern philosophy) อย่างที่่สุด แนวคิดหลักเป็นมุมมองต่อโลกกายภาพตามแนวทางสสารนิยม (materialism) โดยมองว่าพลังงานเป็นองค์ประกอบพื้นฐานในการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพทั้งหลาย  แนวคิดนี้ตั้งอยู่บนภววิทยาหรือปรัชญาของสิ่งเป็นอยู่ (Being) โดยมีทรรศนะว่า ทุกสิ่งที่มีองค์ประกอบที่ย่อยสุดเป็นพลังงาน แนวคิดนี้ตรงกันข้ามกับแนวคิดมโนคตินิยม (idealism) ซึ่งเน้นว่าสรรพสิ่งมีจิตเป็นพื้นฐาน  แนวคิดพลังงานนิยมนี้มีฐานคิดที่อาจจะเชื่อมโยงไปยัง Ernst Mach (1838-1916)  ซึ่งนักฟิสิกส์ทฤษฎีและนักปรัชญา  แม้ว่าทัศนคติของเขาต่อเรื่องนี้ก็ยังไม่ชัดเจนแต่ได้มีการยกย่องผ่านนักเคมี Wilhelm Ostwald (1853-1932)Continue reading…

ปัญญาพัฒนาเป็นกระบวนทรรศน์

          ปัญญาของมนุษย์ทั้งโลกพัฒนาร่วมกันมาเป็น 5 ช่วงเรียกว่า 5 กระบวนทรรศน์  การเปลี่ยนกระบวนทรรศน์แต่ละครั้งเรียกว่าการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (paradigm  shift) ที่เรียกว่า ปรับเปลี่ยนก็เพราะเป็นการเปลี่ยนเพื่อปรับตัวให้ดีขึ้นกว่าเดิม ซึ่งมีทั้งหมด 4 ครั้ง  จากกระบวนทรรศน์ดึกดำบรรพ์  เป็นกระบวนทรรศน์โบราณ  กระบวนทรรศน์ยุคกลาง  กระบวนทรรศน์ยุคใหม่ (นวยุค) และกระบวนทรรศน์หลังนวยุค  ดังต่อไปนี้ Continue reading "ปัญญาพัฒนาเป็นกระบวนทรรศน์"

ปรัชญาอินเดีย

ปรัชญาอินเดียสามารถแยกศึกษาออกได้เป็น 2 ช่วง ได้แก่ ปรัชญาอินเดียโบราณ (Ancient Indian philosophy) คือ ปรัชญาอินเดียในช่วงสมัยอารยันซึ่งมีพื้นฐานอยู่ที่ศาสนา และปรัชญาอินเดียร่วมสมัย (Contemporary Indian philosophy) คือปรัชญาอินเดียในช่วงรอยต่อของสมัยมุสลิมกับสมัยอาณานิคมซึ่งมีแรงจูงใจอยู่ที่สภาพสังคมและการเมืองของอินเดียในขณะนั้น โดยศึกษาได้จากคัมภีร์ทางศาสนาเช่น พระเวท พระไตรปิฎก จากสูตรต่างๆ เช่น โยคะสูตร จากมหากาพย์สำคัญเช่น มหาภารตะ จากงานวรรณกรรมสำคัญเช่น ธรรมศาสตร์ อรรถศาสตร์ กามสูตร อีกทั้งงานเขียนของนักปรัชญาอินเดียร่วมสมัย เช่น คีตาญชลี…